วันจันทร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

 

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10 
วันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ.2563
เวลา 08:30-12:30 น.


💫เทคนิกการสอนวิทยาศาสตร์💫




🌻สรุปสิ่งได้เรียน🌻


🧸พูดคุยกับด็กในชีวิตประจำวัน เริ่มจากคำถามที่สนใจ จากสิ่งที่เด็กเรียนรู้ครูมีหน้าที่ชักชวนเด็ก มีวิธีการหาคำตอบ ให้ข้อมูลมีบทบาทในการกระตุ้นให้ได้เกิดความคิด


🧸การจดบันทึก🧸

ต้องจดตามคำถามของเด็ก ว่าเขาค้นพบอะไร เด็กรู้สึกยังไง คำตอบเหล่านี้นำไปสู่ความคิดของเด็ก


การเข้าสู่กิจกรรม

-ใครอยากช่วยครูทำบ้าง

-ไหนใครอยากทำบ้าง

ชวนเด็กในการทำกิจกรรม ทำอะไร เห็นอะไร  ความรู้ในระดับเเนวคิดรวบยอดที่ครูควรรู้ มีการบูรณาการ วิชาวิทยาศาสตร์เข้ากับวิชาอื่นๆ การคิด สาระคณิตศาสตร์การนับจำนวน


งานที่ได้รับมอบหมาย


🍊โครงการวิทยาศาสตร์ การทดลอง🍊





🌻vocabulary (คำศัพท์)🌻

1.Teaching teachniques : เทคนิคการสอน

2.Intergration : บูรณาการ

3.Question : คำถาม

4.Daily life :ชีวิตประจำวัน

5.Persuade : ชักชวน


🧸Evaluation (การประเมิน)🧸

Evaluation yourself (ประเมินตนเอง) : ตั้งใจทำงานได้คิด

Evaluation friend (ประเมินเพื่อน) : เพื่อนๆตั้งใจฟังอาจารย์ เเละร่วมกันเเสดงความคิดร่วมกัน

Assess the teacher (ประเมินอาจารย์): เข้าสอนตรงต่อเวลา อาจารย์พูดเเละอธิบายข้อมูลได้อย่างชัดเจน มีสื่อคลิปวิดิโอการสอนที่เข้าใจง่าย







วันศุกร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2563

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

 

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

วันศกร์ที่ 16 ตุลาคม ..2563

เวลาเรียน 08:30-12:30 .



เนื้อหาที่เรียน

วันนี้อาจารย์มอบหมายงานให้ทำทั้งหมด 3 ชิ้นงาน


🧸งานชิ้นที่ 1 ทำของเล่นจากกระดาษเเข็งโดยใช้หลักอากาศ

โดยกำหนดกระดาษมาให้คนละ 2ชิ้น กลุ่มของดิฉันก็ได้ประดิษฐ์🚀จรวด🚀




อุปกรณ์ที่ใช้ดังนี้

 1.กระดาษเเข็งความกว้าง 2 เซนติเมตร 2ชิ้น

 2.เทปใส

 3.กรรไกร


วิธีการเล่น จับที่ปลายหางจรวด เเล้วเหวี่ยงข้อมือ


🧸งานชิ้นที่ 2 ทำลูกยางที่ทำด้วยกระดาษ






อุปกรณ์ 

1.กระดาษ

2.คลิปหนีบกระดาษ

3.กรรไกร


วิธีเล่น ขว้างลงมาจากที่สูงพบว่าลูกยางที่ทำจากกระดาษจะหมุนเป็นวงกลมคล้ายลูกยางเเละตกสู่ลงพื้น


ความรู้ที่ได้รับ 

1.ความรู้เรื่องอากาศ

2.หลักการทางวิทยาศาสตร์


งานชิ้นที่ 3 อาจารย์ให้วางเเผนเเละคิดว่าเราจะสามารถทำอย่างไรดินน้ำมันถึงจะลอยน้ำได้






อุปกรณ์ 

1.ถาดใส่น้ำ

2.ดินน้ำมัน

3.น้ำ


วิธีทำ เเผ่ดินน้ำมันออกให้เป็นเเผ่นบางๆ เเบนๆ มีขอบสูงเล็กน้อยเเล้วหย่อนลงถาดใส่น้ำ 


ความรู้ที่ได้รับ 💧✨ หากเราปั้นดินน้ำมันเป็นก้อนกลมๆลงในน้ำ ดินน้ำมันจะจม เเต่ถ้าเราน้ำดินน้ำมันมาปั่นเป็นเเผ่นเเผ่ออกเเบนๆ ทำให้ดินน้ำมันสามารถลอยน้ำได้ การที่ทำให้ลอยน้ำได้เพราะว่าวัตถุนั้นมีความหนาเเน่นน้อยกว่าน้ำ เเละน้ำก็มีเเรงดันทำให้วัตถุลอยขึ้นมา 



🌻vocabulary (คำศัพท์)🌻

1.Yang : ลูกยาง

2.Paperclip : คลิปหนีบกระดาษ

3.Plansticine : ดินน้ำมัน

4.Surveys : จรวด

5.Air : อากาศ




🧸Evaluation (การประเมิน)🧸

Evaluation yourself (ประเมินตนเอง) : ตั้งใจทำงานได้คิดได้วางเเผน สนุกกับการทำกิจกรรม

Evaluation friend (ประเมินเพื่อน) : เพื่อนๆตั้งใจทำชิ้นงาน เเละร่วมกันเเสดงความคิดเห็นได้วางเเผนร่วมกัน

Assess the teacher (ประเมินอาจารย์): เข้าสอนตรงต่อเวลา อาจารย์พูดเเละอธิบายข้อมูลได้อย่างชัดเจน มีกิจกรรมประดิษฐ์ที่น่าสนใจ












วันอาทิตย์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2563

บันทึกอนุทินครั้งที่ 8


 

บันทึกอนุทินครั้งที่ 8

วันศกร์ที่ 9 ตุลาคม ..2563

เวลาเรียน 08:30-12:30 .



วันนี้อาจารย์ได้เปิด CD เรื่องมหัศจรรย์ของน้ำ🌊💧

-ร่างกายมนุษย์มีน้ำ เป็นส่วนประกอบมากกว่า 70% หน้าที่ของน้ำในร่างกายช่วยย่อยอาหาร ละลายสารอาหาร ถ้าร่างกายของเราผ่านน้ำจะรู้สึกอ่อนเพรียร่างกายของเราจะขับเหงื่อออกมาในเวลาที่ได้รับความร้อน มนุษย์ขาดน้ำได้ 3วัน

-สิ่งมีชีวิตต่างๆในโลกล้วยมีน้ำเป็นองค์ประกอบ


💧การเปลี่ยนสถานะของน้ำ💧

ของเเข็ง > ของเหลว = เกิดการหลอมเหลว

ของเหลว > เเก๊ส = การระเหย

เเก๊ส > ของเหลว = การระเหย

☔️ฝนตกเกิดจาก☔️

เกิดจากเเหล่งน้ำที่ได้รับความร้อนจากพลังงานเเสงอาทิตย์ ☀️ กลายเป็นไอน้ำขนาดใหญ่ที่ละเหยไปบนท้องฟ้า ทำให้ก้อนเมฆ☁️เกิดการควบเเน่นเเล้วกลายเป็นฝนตกลงมา🌧


💦การระเหยของน้ำ💦

การกลายเป็นไอที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะทำให้กลายเป็นไอ ผิวหน้ากว้างจะละเหยได้ดีกว่า


⛄️ยกตัวอย่างการทดลองในคลิปวิดิโอ☃️

อุปกรณ์ 

1.เเก้วน้ำ

2.กระดาษเเข็ง

วิธีทำ

ใส่น้ำให้เต็มเเก้วจากนั้นนำกระดาษเเข็งปิดปากเเก้ว เเล้วนำไปเเช่ตู้เย็น

เมื่อนำเก้วออกมาจากตู้เย็นสังเกตเห็นผลที่ได้คือ โมเลกุลที่อัดเเน่นทำให้เกิดน้ำเเข็งทำให้ดันกระดาษถุกดันออกมาน้ำเเข้งจึงล้นออกมาจากเเก้วได้


เรื่อง เเรงกดดันของน้ำ



อุปกรณ์ 

1.ขวด

2.ที่เจาะรู

3.เทป


วิธีทำ

1.เจาะรูทั้ง 3 รู เว้นระยะห่าง

2.ใช้เทปปิดรู

3.ใส่น้ำจนเต็มขวด

3.เปิดรูออกที่ละรูจนครบทุกรู 

ผลที่ได้

น้ำในเเต่ละรูพุ่งออกมาในระดับที่ไม่เท่ากันในเเต่ละส่วน เพราะเกิดจากการที่มีเเรงกดดันที่ไม่เท่ากัน 

รูบนสุด > เเรงกดดันจะน้อย

รูล่างสุด > เเรงกดดันมาก




🐙ยกตัวอย่างของเล่นวิทยาศาสตร์🐙


อุปกรณ์

1.ขวดน้ำ

2.ตุ๊กตาดินน้ำมันมีโพรงอากาศอยู่


วิธีการเล่น

บีบขวดน้ำ ทำให้ปลาหมึกลอยขึ้นบนขึ้นล่าง



🌻จากที่ได้ดูคลิปวิดิโอเสร็จอาจารย์ก็ได้มอบหมายงาน 2 งาน โดยทำเป็นกลุ่ม🌻

งานชิ้นที่ 1



สรุปเป็นองค์ความรู้ความเข้าใจจากสิ่งที่ได้ดูในคลิป


งานชิ้นที่ 2



ออกเเบบของเล่นตามมุมเกี่ยวกับน้ำ กลุ่มของดิฉันได้ออกเเบบ น้ำพุโดยไม่ใช้พลังงาน




💫vocabulary (คำศัพท์)💫

1.Control : การควบเเน่น

2.Pressure : แรงดัน

3.Water vapor : ไอน้ำ

4.Evaporation : การระเหย

5. Human body: ร่างกายมนุษย์


🧸Evaluation (การประเมิน)🧸

Evaluation yourself (ประเมินตนเอง) : ตั้งใจดูคลิปสรุปเป็นความเข้าใจเเละทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย

Evaluation friend (ประเมินเพื่อน) : เพื่อนให้ความร่วมมือในการทำงานร่วมเเสดงความเห็น มีการวางเเผนในการทำงานเป็นอย่างดี

Assess the teacher (ประเมินอาจารย์): อาจารย์พูดเเละอธิบายข้อมูลได้อย่างชัดเจน






บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

 

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4
วันศุกร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ.2563
เวลาเรียน 08:30-12:30 น.


การทดลองวิทยาศาสตร์

กิจกรรมในวันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาทดลองกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์

            เป็นการการทดลองให้กับเพื่อนๆดูทีละคน การทดลองมีหลากหลายวิธี แต่การทดลองก็จะมีวิธีการขั้นตอนในการทำ ดังนี้
            1.ต้องแนะนำอุปกรณ์สำหรับการทดลองให้กับเด็กๆ เพื่อที่เด็กจะได้รู้จัก 
            2.การแนะนำอุปกรณ์ต้องแนะนำที่ละอย่าง ต้องวางจากซ้ายไปขวาของเด็ก 
            3.เริ่มสาธิตการทดลองให้เด็กดู อาจจะให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำด้วย
            4.ต้องมีตั้งสมมุติฐาน
            5.เด็กๆก็จะมีส่วนร่วมในการตอบและคิด
            6.สรุปให้กับเด็กๆ ฟังว่ามันเกิดขึ้นได้อย่างไร แบะตรงกับที่เด็กๆตั้งสมมติฐานไว้หรือเปล่า

🧸การทดลองของฉันความลับของสีดำ🧸




อุปกรณ์ 

1.น้ำ

2.กระดาษกรอง

3.กรรไกร

4.ปากกาสีเมจิ


สรุปผลการทดลอง

สีสังเคราะห์เกิดจากการผสมของแม่สีคือสีแดงสีเหลืองสีน้ำเงินในอัตราส่วนไม่เท่ากันทำให้เกิดสิ่งต่างๆมากมายการคัดแยกสีด้วยกระดาษกรองนี้เราเรียกว่า "เปเปอร์โครมาโทกราฟี่"

ซึ่งเป็นการแยกสารที่ผสมกันในปริมาณน้อยให้แยกออกมาเเป็นแถบสีหรือแถบเส้นสีอาศัยสมบัติ 2 ประการคือ

1.สารต่างชนิดกันมีความสามารถในการละลายในตัวทำละลายได้ต่างกัน

2.สารต่างชนิดกันมีความสามารถในการถูกดูดซับด้วยตัวดูดซับ (กระดาษกรอง ) ได้ต่างกัน

สารที่ละลายในตัวทำละลายได้ดีส่วนมากจะถูกดูดซับในดีจึงเคลื่อนที่ไปได้ไกลส่วนสารที่ละลายในตัวทำละลายได้ไม่ดีส่วนมากจะถูกดูดซับได้ดีจึงอยู่ใกล้จุดเริ่มต้น


💫vocabulary (คำศัพท์)💫

1.Filter paper: กระดาษกรอง

2.The experiment  : การทดลอง

3.Scissors : กรรไกร

4.Hypothesis : สมมติฐาน

5.Participation : การมีส่วนร่วม


🧸Evaluation (การประเมิน)🧸

Evaluation yourself (ประเมินตนเอง) : ตั้งใจฟังอาจารย์สิ่งที่อาจารย์บอกเพิ่มเติมในการทำการทดลอง

Evaluation friend (ประเมินเพื่อน) : ตั้งใจทำการทดลองเเละเพื่อนให้ความร่วมมือในการทำงาน

Assess the teacher (ประเมินอาจารย์): อาจารย์พูดเเละอธิบายข้อมูลได้อย่างชัดเจน




บันทึกอนุทินครั้งที่ 7

 


บันทึกอนุทินครั้งที่ 7

วันพุธที่ 7 ตุลาคม ..2563 (เรียนชดเชย)



วันนี้อาจารย์ได้มอบหมายงานให้ทำทั้งหมด 3 งาน โดยให้จัดกลุ่มละ 5คน



งานที่ชิ้น 1



    อาจารย์ให้วาดภาพเกี่ยวกับเเหล่งน้ำ 1 เเห่งที่มีชื่อเสียง โดยไม่ต้องเขียนชื่อสถานที่เเห่งนั้น จากนั้นเมื่อวาดเสร็จให้เพื่อนๆในห้องลองสังเกตเเล้วตอบว่าสถานที่เเหล่งน้ำที่วาดคือที่ไหน ของกลุ่มดิฉันคือเเหล่งน้ำที่ไหน กลุ่มของดิฉันวาด เกาะพีพี 


งานชิ้นที่ 2



อาจารย์ให้ออกแบบสไลเดอร์ที่สามารถกลิ้งลูกบอลลงมาได้ช้าที่สุด โดยมีวัสดุอุปกรณ์เเจกเเต่ละกลุ่มจำนวนเท่าๆกัน ดังนี้

- หลอด 30 อัน 

        -เทปใส 1 ม้วน

เมื่อสร้างผลงานเสร็จ ก็เอาผลงานเเต่ละกลุ่มมาจับเวลาว่าลูกกลิ้งกลิ้งลงมาเป็นเวลาเท่าไหร่ โดยมีเกณฑ์ เร็วและช้า


งานชิ้นที่ 3


ให้ตัดกระดาษออกมาเป็นรูปดอกไม้🌸 คนละดอก เเล้วพับกลีบดอกไม้ให้หุบ จากนั้นนำดอกไม้ไปลอยในน้ำ เเล้วจะสังเกตเห็นได้ว่าดอกไม้ค่อยๆบานออก 


🧸ความรู้ที่ได้รับจากการทำผลงาน 3 ชิ้น🧸

-เเหล่งน้ำที่สำคัญในเเต่ละเเห่งมีชื่อเรียกที่เเตกต่างกัน มีจุดเด่นที่ทำให้คนนึกถึงได้

-มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง เช่นสวนน้ำสไลเดอร์เป็นเเหล่งท่องเที่ยวที่เป็นเเหล่งน้ำ

1.มีการออกเเบบ มีเป้าหมาย > เขียนเเบบวิศวะ

2.หาอุปกรณ์ ระบุจำนวนวัสดุที่ใช้

-สไลเดอร์ วิทยาศาสตร์ คือระดับความลาดเอียง SPDN เป็นเรื่องของพื้นที่กับเวลาเเละความสัมพันธ์กัน


ดอกไม้

สังเกตการเปลี่ยนแปลง น้ำสามารถเเทรกซึบเข้าไปในกระดาษพื้นที่ ที่มีช่องทำให้กระดาษสามารถบานออกมา



Vocabulary (คำศัพท์)

1.Design : ออกแบบ

2.Water resources : เเหล่งน้ำ

3.The Planc : สถานที่

4.Slow : ช้า

5.Goal : เป้าหมาย


🧸Evaluation (การประเมิน)🧸

Evaluation yourself (ประเมินตนเอง) : ตั้งใจทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย

Evaluation friend (ประเมินเพื่อน) : เพื่อนให้ความร่วมมือในการทำงานร่วมเเสดงความเห็น มีการวางเเผนในการทำงานเป็นอย่างดี

Assess the teacher (ประเมินอาจารย์): อาจารย์พูดเเละอธิบายข้อมูลได้อย่างชัดเจนเข้าใจง่ายขึ้น






บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

  บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10  วันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ.2563 เวลา 08:30-12:30 น. 💫เทคนิกการสอนวิทยาศาสตร์💫 🌻สรุปสิ่งได้เรียน 🌻 🧸 พูด...